กระทรวงพลังงาน ผนึกกำลัง ปตท. – กฟผ. ร่วมเดินหน้าขับเคลื่อนไทยสู่ฮับด้านพลังงานและ ยานยนต์แห่งเอเชีย ยกระดับ “ฟิวเจอร์ เอเนอร์ยี่ เอเชีย” และ “ฟิวเจอร์ โมบิลิตี้ เอเชีย 2023” พลิกโฉมโลกสู่อนาคตแห่งพลังงานสะอาด 17-19 พ.ค. นี้!

www.rodweekly.com


  • เปิดไฮไลต์ ฟิวเจอร์ เอเนอร์ยี เอเชีย เวทีอภิปรายด้านการเปลี่ยนผ่านพลังงานสะอาดที่มีการเติบโตอย่างรวดเร็วที่สุดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พร้อมเปิดโอกาสให้ภาครัฐและผู้นำภาคอุตสาหกรรมสามารถเข้าถึงการเปลี่ยนผ่านห่วงโซ่คุณค่าด้านพลังงานและยานยนต์ทั้งในเอเชียและในระดับโลก

  • ร่วมเจาะลึกแนวคิด โซลูชั่น เทคโนโลยี ตลอดทั้งนวัตกรรมยานยนต์พลังงานสะอาดแห่งอนาคตในงาน ฟิวเจอร์ โมบิลิตี้ เอเชีย มหกรรมด้านยานยนต์ที่ยิ่งใหญ่และมีความครอบคลุมที่สุดในเอเชีย

  • ผลักดันการขับเคลื่อนด้านพลังงานและยานยนต์ครั้งสำคัญ พร้อมคาดการณ์ว่าภายในปี พ.ศ. 2573 เศรษฐกิจของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้จะมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของโลก และความต้องการพลังงานในภูมิภาคจะเพิ่มขึ้นเป็น 3 เท่าระหว่างปีพ.ศ. 2556 - 2583

  • ตั้งเป้ามีผู้เข้าร่วมงานกว่า 18,000 ราย จากกว่า 70 ประเทศ เพื่อหารือเพิ่มเติมเกี่ยวกับบทบาทของเอเชียต่อการเปลี่ยนแปลงผ่านพลังงานในระดับโลก


 

- กระทรวงพลังงาน ร่วมกับ บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) บริษัท ปตท. สำรวจและผลิตปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน) และ บริษัท ดีเอ็มจี อีเวนท์ จำกัด ตอกย้ำความสำเร็จเดินหน้าจัดงาน “ฟิวเจอร์ เอนเนอร์ยี่ เอเชีย และ “ฟิวเจอร์ โมบิลิตี้ เอเชีย 2023” (Future Energy Asia and Future Mobility Asia 2023) การกลับมาอย่างยิ่งใหญ่ของมหกรรมด้านพลังงานและยานยนต์ครั้งสำคัญของภูมิภาค ที่ประกอบไปด้วย แพลตฟอร์มการประชุมสุดยอดผู้นำด้านพลังงานและยานยนต์พลังงานสะอาด เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือทางธุรกิจและนโยบายด้านพลังงานในระดับนานาชาติ และนิทรรศการที่รวบรวมนวัตกรรมและสินค้าด้านพลังงานและยานยนต์ครั้งยิ่งใหญ่ที่สุดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เพื่อขับเคลื่อนประเทศไทยและอาเซียนสู่เป้าหมายการบรรลุความเป็นกลางทางคาร์บอน และการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกเป็นศูนย์ พร้อมระดมผู้เชี่ยวชาญระดับผู้บริหาร และผู้กำหนดนโยบายร่วมแสดงวิสัยทัศน์ เกี่ยวกับแนวโน้มที่สำคัญ ตลอดจนความท้าทาย และโอกาสในการกำหนดและผลักดันภาคส่วนด้านพลังงานและยานยนต์ให้เกิดขึ้นอย่างครบวงจรและเป็นรูปธรรม


 


ดร.วีรพัฒน์ เกียรติเฟื่องฟู รองปลัดกระทรวงพลังงาน กล่าวว่า ประเทศไทยตั้งเป้าหมายบรรลุความเป็นกลางทางคาร์บอน (Carbon Neutrality) ภายในปีพ.ศ. 2593 และลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ (Net Zero Greenhouse Gas Emission) ภายในปี พ.ศ. 2608 ซึ่งการจัดงานฟิวเจอร์ เอเนอร์ยี่ เอเชีย และ ฟิวเจอร์ โมบิลิตี้ เอเชีย ในครั้งนี้ เป็นหนึ่งในแนวทางสำคัญที่ช่วยส่งเสริมให้ประเทศไทยสามารถบรรลุเป้าหมายทางพลังงานและสิ่งแวดล้อมดังกล่าวได้ ผ่านแพลตฟอร์มความร่วมมือทางธุรกิจ และการสร้างเครือข่ายพันธมิตรในอุตสาหกรรมพลังงานและยานยนต์ ผ่านการประสานภาคธุรกิจ นวัตกร และฝ่ายนโยบาย ให้สามารถสร้างก้าวสำคัญในการข้ามความท้าทายด้านพลังงานทั้ง 3 ประการ (Energy Trilemma) อันประกอบไปด้วย 1.การสร้างความมั่นคงทางพลังงาน 2.การเข้าถึงพลังงานในราคาที่เหมาะสม และ 3.ความยั่งยืนทางสิ่งแวดล้อม ซึ่งจะมาช่วยเสริมสร้างความมั่นคงด้านพลังงานในระหว่างการเปลี่ยนผ่านสู่พลังงานสะอาด ทั้งในระดับภูมิภาคและในระดับโลก

- กระทรวงพลังงาน ร่วมกับ บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) บริษัท ปตท. สำรวจและผลิตปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน) และ บริษัท ดีเอ็มจี อีเวนท์ จำกัด ตอกย้ำความสำเร็จเดินหน้าจัดงาน “ฟิวเจอร์ เอนเนอร์ยี่ เอเชีย และ “ฟิวเจอร์ โมบิลิตี้ เอเชีย 2023” (Future Energy Asia and Future Mobility Asia 2023) การกลับมาอย่างยิ่งใหญ่ของมหกรรมด้านพลังงานและยานยนต์ครั้งสำคัญของภูมิภาค ที่ประกอบไปด้วย แพลตฟอร์มการประชุมสุดยอดผู้นำด้านพลังงานและยานยนต์พลังงานสะอาด เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือทางธุรกิจและนโยบายด้านพลังงานในระดับนานาชาติ และนิทรรศการที่รวบรวมนวัตกรรมและสินค้าด้านพลังงานและยานยนต์ครั้งยิ่งใหญ่ที่สุดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เพื่อขับเคลื่อนประเทศไทยและอาเซียนสู่เป้าหมายการบรรลุความเป็นกลางทางคาร์บอน และการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกเป็นศูนย์ พร้อมระดมผู้เชี่ยวชาญระดับผู้บริหาร และผู้กำหนดนโยบายร่วมแสดงวิสัยทัศน์ เกี่ยวกับแนวโน้มที่สำคัญ ตลอดจนความท้าทาย และโอกาสในการกำหนดและผลักดันภาคส่วนด้านพลังงานและยานยนต์ให้เกิดขึ้นอย่างครบวงจรและเป็นรูปธรรม


 


ดร.วีรพัฒน์ เกียรติเฟื่องฟู รองปลัดกระทรวงพลังงาน กล่าวว่า ประเทศไทยตั้งเป้าหมายบรรลุความเป็นกลางทางคาร์บอน (Carbon Neutrality) ภายในปีพ.ศ. 2593 และลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ (Net Zero Greenhouse Gas Emission) ภายในปี พ.ศ. 2608 ซึ่งการจัดงานฟิวเจอร์ เอเนอร์ยี่ เอเชีย และ ฟิวเจอร์ โมบิลิตี้ เอเชีย ในครั้งนี้ เป็นหนึ่งในแนวทางสำคัญที่ช่วยส่งเสริมให้ประเทศไทยสามารถบรรลุเป้าหมายทางพลังงานและสิ่งแวดล้อมดังกล่าวได้ ผ่านแพลตฟอร์มความร่วมมือทางธุรกิจ และการสร้างเครือข่ายพันธมิตรในอุตสาหกรรมพลังงานและยานยนต์ ผ่านการประสานภาคธุรกิจ นวัตกร และฝ่ายนโยบาย ให้สามารถสร้างก้าวสำคัญในการข้ามความท้าทายด้านพลังงานทั้ง 3 ประการ (Energy Trilemma) อันประกอบไปด้วย 1.การสร้างความมั่นคงทางพลังงาน 2.การเข้าถึงพลังงานในราคาที่เหมาะสม และ 3.ความยั่งยืนทางสิ่งแวดล้อม ซึ่งจะมาช่วยเสริมสร้างความมั่นคงด้านพลังงานในระหว่างการเปลี่ยนผ่านสู่พลังงานสะอาด ทั้งในระดับภูมิภาคและในระดับโลก

- กระทรวงพลังงาน ร่วมกับ บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) บริษัท ปตท. สำรวจและผลิตปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน) และ บริษัท ดีเอ็มจี อีเวนท์ จำกัด ตอกย้ำความสำเร็จเดินหน้าจัดงาน “ฟิวเจอร์ เอนเนอร์ยี่ เอเชีย และ “ฟิวเจอร์ โมบิลิตี้ เอเชีย 2023” (Future Energy Asia and Future Mobility Asia 2023) การกลับมาอย่างยิ่งใหญ่ของมหกรรมด้านพลังงานและยานยนต์ครั้งสำคัญของภูมิภาค ที่ประกอบไปด้วย แพลตฟอร์มการประชุมสุดยอดผู้นำด้านพลังงานและยานยนต์พลังงานสะอาด เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือทางธุรกิจและนโยบายด้านพลังงานในระดับนานาชาติ และนิทรรศการที่รวบรวมนวัตกรรมและสินค้าด้านพลังงานและยานยนต์ครั้งยิ่งใหญ่ที่สุดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เพื่อขับเคลื่อนประเทศไทยและอาเซียนสู่เป้าหมายการบรรลุความเป็นกลางทางคาร์บอน และการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกเป็นศูนย์ พร้อมระดมผู้เชี่ยวชาญระดับผู้บริหาร และผู้กำหนดนโยบายร่วมแสดงวิสัยทัศน์ เกี่ยวกับแนวโน้มที่สำคัญ ตลอดจนความท้าทาย และโอกาสในการกำหนดและผลักดันภาคส่วนด้านพลังงานและยานยนต์ให้เกิดขึ้นอย่างครบวงจรและเป็นรูปธรรม


 


ดร.วีรพัฒน์ เกียรติเฟื่องฟู รองปลัดกระทรวงพลังงาน กล่าวว่า ประเทศไทยตั้งเป้าหมายบรรลุความเป็นกลางทางคาร์บอน (Carbon Neutrality) ภายในปีพ.ศ. 2593 และลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ (Net Zero Greenhouse Gas Emission) ภายในปี พ.ศ. 2608 ซึ่งการจัดงานฟิวเจอร์ เอเนอร์ยี่ เอเชีย และ ฟิวเจอร์ โมบิลิตี้ เอเชีย ในครั้งนี้ เป็นหนึ่งในแนวทางสำคัญที่ช่วยส่งเสริมให้ประเทศไทยสามารถบรรลุเป้าหมายทางพลังงานและสิ่งแวดล้อมดังกล่าวได้ ผ่านแพลตฟอร์มความร่วมมือทางธุรกิจ และการสร้างเครือข่ายพันธมิตรในอุตสาหกรรมพลังงานและยานยนต์ ผ่านการประสานภาคธุรกิจ นวัตกร และฝ่ายนโยบาย ให้สามารถสร้างก้าวสำคัญในการข้ามความท้าทายด้านพลังงานทั้ง 3 ประการ (Energy Trilemma) อันประกอบไปด้วย 1.การสร้างความมั่นคงทางพลังงาน 2.การเข้าถึงพลังงานในราคาที่เหมาะสม และ 3.ความยั่งยืนทางสิ่งแวดล้อม ซึ่งจะมาช่วยเสริมสร้างความมั่นคงด้านพลังงานในระหว่างการเปลี่ยนผ่านสู่พลังงานสะอาด ทั้งในระดับภูมิภาคและในระดับโลก

- กระทรวงพลังงาน ร่วมกับ บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) บริษัท ปตท. สำรวจและผลิตปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน) และ บริษัท ดีเอ็มจี อีเวนท์ จำกัด ตอกย้ำความสำเร็จเดินหน้าจัดงาน “ฟิวเจอร์ เอนเนอร์ยี่ เอเชีย และ “ฟิวเจอร์ โมบิลิตี้ เอเชีย 2023” (Future Energy Asia and Future Mobility Asia 2023) การกลับมาอย่างยิ่งใหญ่ของมหกรรมด้านพลังงานและยานยนต์ครั้งสำคัญของภูมิภาค ที่ประกอบไปด้วย แพลตฟอร์มการประชุมสุดยอดผู้นำด้านพลังงานและยานยนต์พลังงานสะอาด เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือทางธุรกิจและนโยบายด้านพลังงานในระดับนานาชาติ และนิทรรศการที่รวบรวมนวัตกรรมและสินค้าด้านพลังงานและยานยนต์ครั้งยิ่งใหญ่ที่สุดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เพื่อขับเคลื่อนประเทศไทยและอาเซียนสู่เป้าหมายการบรรลุความเป็นกลางทางคาร์บอน และการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกเป็นศูนย์ พร้อมระดมผู้เชี่ยวชาญระดับผู้บริหาร และผู้กำหนดนโยบายร่วมแสดงวิสัยทัศน์ เกี่ยวกับแนวโน้มที่สำคัญ ตลอดจนความท้าทาย และโอกาสในการกำหนดและผลักดันภาคส่วนด้านพลังงานและยานยนต์ให้เกิดขึ้นอย่างครบวงจรและเป็นรูปธรรม


 


ดร.วีรพัฒน์ เกียรติเฟื่องฟู รองปลัดกระทรวงพลังงาน กล่าวว่า ประเทศไทยตั้งเป้าหมายบรรลุความเป็นกลางทางคาร์บอน (Carbon Neutrality) ภายในปีพ.ศ. 2593 และลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ (Net Zero Greenhouse Gas Emission) ภายในปี พ.ศ. 2608 ซึ่งการจัดงานฟิวเจอร์ เอเนอร์ยี่ เอเชีย และ ฟิวเจอร์ โมบิลิตี้ เอเชีย ในครั้งนี้ เป็นหนึ่งในแนวทางสำคัญที่ช่วยส่งเสริมให้ประเทศไทยสามารถบรรลุเป้าหมายทางพลังงานและสิ่งแวดล้อมดังกล่าวได้ ผ่านแพลตฟอร์มความร่วมมือทางธุรกิจ และการสร้างเครือข่ายพันธมิตรในอุตสาหกรรมพลังงานและยานยนต์ ผ่านการประสานภาคธุรกิจ นวัตกร และฝ่ายนโยบาย ให้สามารถสร้างก้าวสำคัญในการข้ามความท้าทายด้านพลังงานทั้ง 3 ประการ (Energy Trilemma) อันประกอบไปด้วย 1.การสร้างความมั่นคงทางพลังงาน 2.การเข้าถึงพลังงานในราคาที่เหมาะสม และ 3.ความยั่งยืนทางสิ่งแวดล้อม ซึ่งจะมาช่วยเสริมสร้างความมั่นคงด้านพลังงานในระหว่างการเปลี่ยนผ่านสู่พลังงานสะอาด ทั้งในระดับภูมิภาคและในระดับโลก

นายประเสริฐศักดิ์ เชิงชวโน รองผู้ว่าการด้านยุทธศาสตร์ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) กล่าวเสริมว่า “จากการที่อุตสาหกรรมพลังงานในปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ความร่วมมือและการสร้างเครือข่ายพันธมิตรระหว่างภาคส่วนและหน่วยงานจึงเป็นปัจจัยสำคัญในการสร้างแนวทางเพื่อลดผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศในระยะยาว ดังนั้นงาน ฟิวเจอร์ เอเนอร์ยี่ เอเชีย และ ฟิวเจอร์ โมบิลิตี้ เอเชีย จึงเป็นเวทีสำคัญที่ทำให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกฝ่ายสามารถร่วมแบ่งปันความรู้ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น รวมถึงทำงานร่วมกันเพื่อเร่งการเปลี่ยนแปลงสู่ระบบพลังงานที่ยั่งยืน”


 

ไฮไลต์ภายในงานฟิวเจอร์ เอเนอร์ยี เอเชีย


มุ่งเน้นการการนำเสนอประเด็นสำคัญที่ครอบคลุมทั้วห่วงโซ่คุณค่าด้านพลังงาน รวมไปถึงการเน้นย้ำถึงศักยภาพของเชื้อเพลิงทางเลือก ตั้งแต่พลังงานทดแทน ไฮโดรเจนและก๊าซธรรมชาติ การสร้างสมดุลระหว่างความมั่นคงทางพลังงานและการขยายขอบเขตเป้าหมายการปล่อยก๊าซเรือนกระจกเป็นศูนย์ ไปจนถึงการปรับปรุงระบบส่งและโครงข่ายการกระจายสินค้าให้ทันสมัย ผ่านไฮไลท์กิจกรรมต่าง ๆ ประกอบด้วย



  • การจัดแสดงนวัตกรรมและสินค้าเพื่อพลังงานสะอาดจากบริษัทชั้นนำทั่วโลก

  • การประชุมเชิงกลยุทธ์และเชิงเทคนิคด้านการเปลี่ยนผ่านสู่พลังงานสะอาด เกี่ยวกันอนาคตของก๊าซธรรมชาติในเอเชีย ความสำคัญของเครือข่ายพันธมิตรระดับภูมิภาคเพื่อสนับสนุนการเปลี่ยนผ่านสู่พลังงานสะอาด การขับเคลื่อนระบบโครงข่ายไฟฟ้าอัจฉริยะ รวมถึงการดึงดูดและรักษาบุคลากรด้านพลังงาน ซึ่งร่วมบรรยายและอภิปรายโดยนักวิชาการและผู้นำด้านพลังงานจากหน่วยงานชั้นนำ อาทิ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) บริษัท ปตท. สำรวจและผลิตปิโตรเลียม (ปตท. สผ.) เป็นต้น


 


ทั้งนี้ การจัดนิทรรศการและการจัดบรรยายในงานฟิวเจอร์ เอเนอร์ยี่ เอเชีย จะช่วยขับเคลื่อนนวัตกรรมที่บุกเบิกแนวทางสู่การบรรลุเป้าหมายการปล่อยก๊าซเรือนกระจกเป็นศูนย์ พร้อมอำนวยความสะดวกในการสร้างพันธมิตรทางธุรกิจ ซึ่งจะส่งเสริมให้ภาคอุตสาหกรรมสามารถส่งมอบความมั่นคงทางพลังงานที่สามารถเข้าถึงได้สำหรับทุกคน


 


ไฮไลต์ภายในงานฟิวเจอร์ โมบิลิตี้ เอเชีย


การประชุมอภิปรายด้านอุตสาหกรรมยานยนต์ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในภูมิภาค จะมุ่งนำเสนอแนวคิด โซลูชั่น เทคโนโลยี และนวัตกรรมยานยนต์สะอาดแห่งอนาคต อันเป็นหัวใจสำคัญในการบรรลุการเปลี่ยนผ่านสู่พลังงานสะอาด เนื่องจากการคมนาคมถือเป็นต้นเหตุสำคัญของการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก โดยคิดเป็นอัตราส่วนถึง 1 ใน 4 ของการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกทั่วโลก ซึ่งงานฟิวเจอร์ โมบิลิตี้ เอเชีย มุ่งสร้างการเปลี่ยนแปลงให้กับภาคยานยนต์ ด้วยการเป็นศูนย์กลางในการสร้างเครือข่ายระหว่างผู้ผลิต ผู้คิดค้นนวัตกรรม ผู้ให้บริการหลังการขาย และผู้ให้บริการด้านเทคโนโลยียานยนต์  ได้ร่วมขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงสู่ยานยนต์เพื่อพลังงานสะอาดในภูมิภาคเอเชีย


 


นอกจากไลน์อัพการจัดแสดงยานยนต์ ตั้งแต่รถยนต์ไฟฟ้าขับเคลื่อนแบบ 2 ล้อ และ 4 ล้อ ยานพาหนะทางอากาศแบบอัตโนมัติ รถเมล์ไฟฟ้า แบตเตอรี่รถยนต์ไฟฟ้า ซอฟต์แวร์และเทคโนโลยีขับเคลื่อนอัตโนมัติ รวมไปถึงชิ้นส่วนและอุปกรณ์หลังการขายที่จะร่วมพลิกโฉมภาคพลังงานแล้ว ภายในงานฟิวเจอร์ โมบิลิตี้ เอเชีย ยังประกอบไปด้วยกิจกรรมที่ผู้ร่วมงานไม่ควรพลาด ไม่ว่าจะเป็น



  • เดอะ ฟิวเจอร์ โมบิลี้ตี้ ฮับ (The Future Mobility Hub) การจัดแสดงโซลูชันยานยนต์อนาคตในรูปแบบอินเตอร์แอกทีฟ พร้อมร่วมชมการสาธิตโมเดลการคมนาคมด้วยยานยนต์ไฟฟ้าในโลกเสมือนจริง

  • โซนสาธิตยานยนต์ไฟฟ้า สัมผัสประสบการณ์การขับรถยนต์ไฟฟ้ารุ่นใหม่ล่าสุดจากวินฟาสต์ (Vinfast) บริษัทรถยนต์ไฟฟ้าชื่อดังสัญชาติเวียดนามได้ก่อนใคร


 


 


 



  • การบรรยายเวทีกลางโดยหน่วยงานด้านการลงทุน การคมนาคม และบริษัทยานยนต์พลังงานสะอาดระดับโลก อาทิ สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (บีโอไอ) ฝ่ายการพัฒนาการขนส่งอย่างยั่งยืนแห่งธนาคารโลก บริษัท กูเกิล บริษัท วอลโว่ ทรัคส์ บริษัท วินฟาสต์ และ บริษัท แดสสอลท์ ซิสเต็มส์ เป็นต้น


ทั้งนี้ งานฟิวเจอร์ เอเนอร์ยี่ เอเชีย และฟิวเจอร์ โมบิลิตี้ เอเชีย ประจำปี 2566 จัดขึ้นระหว่างวันที่ 17-19 พฤษภาคม 2566 ณ Strategic Conference, Hall 1 ชั้น G ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ โดยผู้สนใจสามารถติดตามรายละเอียดของงานเพิ่มเติมได้ผ่านทาง www.futureenergyasia.com และ www.future-mobility.com